Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การศึกษาคุณภาพเนื้อโคและการยอมรับของผู้บริโภคต่อสายพันธุ์โคเนื้อในเขตจังหวัดนครสวรรค์
A study of beef quality and consumer preference test on beef breeds in Nakhon Sawan province
Autores:  Thunwa Wiyabot
Data:  2015-05-25
Ano:  2014
Palavras-chave:  Beef cattle
Brahman
Native cattle
Animal husbandry
Beef meat
Meat quality
Chemical composition
Sensory evaluation
Consumer acceptance
Nakhon Sawan province
โคเนื้อ
พันธุ์บราห์มัน
พันธุ์พื้นเมือง
พันธุ์ฮินดูบราซิล
การเลี้ยงสัตว์
เนื้อโค
คุณภาพเนื้อ
การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี
การประเมินทางประสาทสัมผัส
การยอมรับของผู้บริโภค
ความพึงพอใจ
จ.นครสวรรค์
Resumo:  The influence of lactic acid bacteria powder compared with antibiotic on carcass characteristics was assessed at 42 day of age in broiler chickens. Two-hundred (1-d old) mixed-sex broilers were assigned to 4 dietary treatments: T1) Control diet, T2) Control + 0.05% of Oxytetracycline, T3) Control + 0.2% of Lactobacillus plantarum ST1 powder (Single strain), and T4) Control + 1.0% of fermented juice of epiphytic lactic acid bacteria powder (Mixed strain). The experiments were assigned using Completely Randomized Design (CRD; 5 reps/trt and 10 birds/pen). Each treatment was provided in a 2-stage feeding program (Starter; 22% protein and Grower; 21% protein). Supplementation with either single or mixed-strain of lactic acid bacteria powder, and with antibiotic in diets did not affect (P>0.05) carcass characteristics of broilers. Using of lactic acid bacteria powder could be an alternative choice instead of antibiotic as the carcass characteristics of broiler chickens were not different.

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของพันธุ์โคเนื้อต่อคุณภาพเนื้อโคและการยอมรับของผู้บริโภคในเขตจังหวัดนครสวรรค์ น้ำหนักโคมีชีวิตเข้าฆ่ามากกว่า 460 กิโลกรัมวางแผนการทดลองแบบบล็อกสมบูรณ์ (Randomized Completely Block Design, RCBD) วิเคราะห์ขอมูลด้านคุณภาพเนื้อจำนวน 30 ตัวอย่าง ผลการทดลองปรากฏว่าโคเนื้อพันธุ์ฮินดูมีค่าสีแดง (a* = 19.36) สูงกว่าพันธุ์บราห์มัน (a* = 15.91) และพันธุ์พื้นเมือง (a* =16.18) แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้เนื้อพันธุ์ฮินดูและพันธุ์บราห์มันมีความนุ่มสูงกว่าพันธุ์พื้นเมืองแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ในขณะที่ค่าความสว่าง, ค่าสีเหลือง, ค่าแรงตัดผ่านชิ้นเนื้อ, การอุ้มน้ำของเนื้อ, วัตถุแห้งของเนื้อ, เปอร์เซ็นโปรตีน, เปอร์เซ็นไขมัน, ความชุ่มฉ่ำ, กลิ่นของเนื้อ, กลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ และความพึงพอใจโดยรวมมีค่าแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05)
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5748

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 312-316

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 312-316
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional